หมวกแห่งความสุขใส่ปุ๊บ"ยิ้ม"ปั๊บ? HAPPINESS HAT 2009






หมวกแห่งความสุขใส่ปุ๊บ"ยิ้ม"ปั๊บ? HAPPINESS HAT 2009


พักจากข่าวเครียดๆ มาดูแก็ดเจ็ต (gadget) สนุกๆ กันอีกสักชิ้นก็แล้วกันนะครับ สำหรับแก็ดเจ็ตชิ้นนี้เหมาะกับคุณผู้อ่านที่
"ยิ้ม" ยาก หรือมักจะมีสีหน้าไม่ค่อยมีความสุข เพราะมันคือ "หมวกความสุข" (Happiness Hat) เมื่อคุณได้สวมใส่มันแล้ว คุณจะเป็นคนยิ้มเก่ง และยิ้มได้บ่อยๆ อยากทราบแล้วใช่ไหมครับว่า มันทำได้อย่างไร?


Happiness Hat เป็น ผลงานไอเดียสร้างสรรค์ของ Lauren Mccarthy ที่ต้องการตัวช่วยในการทำให้คนที่ยิ้มยากได้ยิ้มย่อยๆ โดยหมวกแห่งความสุขทีว่านี้ จะมีเซ็นเซอร์คอยตรวจจับว่า ขณะนั้น คุณกำลังยิ้มอยู่หรือไม่? ซึ่งหากคุณไม่ได้ยิ้ม เซ็นเซอร์จะส่งคำสั่งควบคุมไปยังเข็มเหล็ก(คล้ายหัวปากกาลูกลื่น)ขนาดเล็ก ที่ติดตั้งอยู่บริเวณท้ายทอยให้จิ้มลงไป ทำให้รู้สึกจั๊กกะจี้ที่บริเวณดังกล่าว ซึ่งการตอบสนองต่อความรู้สึกนี้ก็คือ การ
"ยิ้ม"ออกมานั่นเอง สำหรับวงจรที่ใช้ในการสร้างยังคงเป็นบอร์ดอัจฉริยะ Arduino อีกแล้วครับท่าน


โครงงานสร้างสรรค์ดังกล่าวเกิดจากแรงบันดาลที่จะพัฒนาอุปกรณ์ที่ช่วยให้มนุษย์ ได้พัฒนาปฏิสัมพันธ์กับสังคมมากขึ้น ไม่ใช่เจอหน้าทุกครั้งบูดบึ้งกันอย่างเดียว อย่างไรก็ตาม ดูจากคลิปแล้ว ไม่แน่ใจว่า เค้ายิ้มออกมา เพราะมีความสุข หรือเจ็บปวดกันแน่นะเนี่ย จะยังไงก็แล้วแต่ วันนี้คุณผู้อ่านได้ยิ้มกับตัวเอง และผู้คนรอบข้างแล้ว หรือยังล่ะครับ

http://www.arip.co.th/news.php?id=410260


HAPPINESS HAT 2009
A wearable conditioning device that detects if you're smiling and provides pain feedback if you're not. Frowning creates intense pain but a full smile leaves you pain free! The first in a series of Tools for Improved Social Inter-Acting.

An enclosed bend sensor attaches to the cheek and measures smile size, a servo motor moves a metal spike into the head inversely proportional to the degree of smile. Through repeated use of this conditioning device you can train your brain to smile all the time. The device runs on Arduino.


A smile is a simple action that has the power to make you and everyone around you feel better. Just using the muscles to smile can make you feel happier. Seeing someone else smiling triggers mirror neurons in your own brain, causing you to unconsciously smile yourself. What is the potential of feedback to improve the way we act and feel? On the other hand, how often does the appearance we project misrepresent what we are really thinking and feeling? How do we reconcile these ideas?